บทความทั้งหมด INTERVIEW LIFESTYLE ความรู้ คุณหมอตอบคำถาม แม่บ้านคีโม

มะเร็งเต้านมระยะ 0-1-2-3 หายขาดได้จริงหรือ

นับเป็นอีกหนึ่งคำถามสุดฮอตที่คุณหมอมักจะถูกถามอยู่เป็นประจำ สำหรับมะเร็งเต้านมระยะใดหายขาดได้บ้าง วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็งมีคำตอบมาฝาก

จบการรักษามะเร็งเต้านมมา 2 ปีกว่าแล้ว แต่ทำไมมือ-เท้ายังมีอาการชาอยู่ ควรจัดการอย่างไรดี

อาการชาตามมือและเท้านั้น ถือเป็นอาการข้างเคียงจากเคมีบำบัดที่ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลายๆ ท่านพบเจอและไม่รู้ว่าจะจัดการอย่างไร วันนี้คุณหมอส้ม- รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีข้อแนะนำมาฝาก

อาหารต้องห้ามของผู้ป่วยมะเร็งมีอะไรบ้าง

ถือเป็นคำถามที่ถูกถามบ่อยอีกหนึ่งคำถามว่า มีอาหารอะไรบ้างที่ไม่ควรรับประทานเมื่อป่วยเป็นมะเร็ง วันนี้ คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ มีคำตอบมาฝาก

การดื่มชาเขียวลดความเสี่ยงและการกลับเป็นซ้ำจริงหรือไม่

เพราะในชาเขียวมีสารต้านอนุมูลอิสระ และผลต่อเซลล์มะเร็ง แต่การดื่มชาเขียวทุกวันจะช่วยลดความเสี่ยงและการกลับมาเป็นซ้ำได้จริงหรือไม่ วันนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ มีคำตอบให้

เมื่อรู้ตัวว่าเป็นมะเร็ง อะไรบ้างที่เราควรรู้

ทันทีที่รู้ตัวว่าเป็นมะเร็ง เชื่อว่าหลายๆ คนคงช็อก ตกใจ จนไม่มีสติที่จะถามข้อมูลจากคุณหมอ ทำให้ไม่รู้จะปฏิบัติตัวต่อไปอย่างไร เพื่อป้องกันปัญหาดังกล่าว วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ มีทางออกให้…

ไม่อยากกลับมาเป็นมะเร็งซ้ำ กินอย่างไรดี

นับเป็นคำถามคาใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลายคน วันนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ นายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ มีเทคนิคการกินง่ายๆ สำหรับอดีตผู้ป่วยมาฝาก

กินอาหารปิ้งย่างอย่างไร ไม่เป็นมะเร็ง

อย่างที่รู้กันดีว่าการกินอาการปิ้งย่างนั้นเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็ง แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ เราจะกินอย่างไรให้ห่างไกลมะเร็ง วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ มีคำตอบให้

ภาวะแขนบวมนี้จะอยู่กับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมไปตลอดชีวิต จริงหรือไม่

‘แขนบวม’ ภาวะที่ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต้องพบทุกรายจริงหรือไม่ คำถามนี้คุณหมอปุ๊ก-ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ มาไขข้อสงสัยไปตามอ่านพร้อมๆ กันได้เลย

ผู้ป่วยมะเร็งที่รับเคมีบำบัด รับประทานผักผลไม้สดได้ไหม

อีกคำถามที่ยังคงคาใจของผู้ป่วยมะเร็งไม่น้อยสำหรับผักและผลไม้สดนั้นผู้ป่วยกินได้หรือไม่ เดือนนี้ คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ มาไขข้อสงสัย

อยากให้แนะนำอาหารหลังภาวะผมร่วงจากการให้คีโม

เพราะผมร่วงเป็นอาการข้างเคียงที่ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต้องเจอกันทุกคน และแน่นอนว่า หลายท่านเป็นกังวลว่า ผมร่วงแล้วจะกลับมาเหมือนเดิมไหม เดือนนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ นำเคล็ดลับการดูแลเส้นผมหลังการให้คีโมมาฝาก

มะเร็งเต้านม ‘ระยะสุดท้าย’ จะอยู่ได้อีกกี่ปี

อีกหนึ่งคำถามที่ยืนยันว่า ‘มะเร็งเต้านมระยะสุดท้าย’ ยังสามารถใช้ชีวิตต่อได้ แต่ ‘สั้น’ หรือ ‘ยาวนาน’ แค่ไหน ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ หากอยากรู้ว่ามีอะไรบ้าง ตามไปดูพร้อมๆ กันได้เลย!

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าหายจาก ‘มะเร็งเต้านม’ แล้ว

นับเป็นอีกหนึ่งคำถามฮอตฮิตที่ผู้ป่วยมะเร็งหลายๆ คนอยากรู้ วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ มาไขข้อข้องใจให้หายสงสัยแบบหมดเปลือก…

หากผู้ป่วยมะเร็งเต้านมไม่ต้องการผ่าตัดเต้านมออกทั้งหมด ในทางการแพทย์จะมีวิธีรักษาอื่นๆ อีกไหม

นับเป็นคำถามที่สาวๆ หลายคนคงอยากรู้คำตอบ วันนี้คุณหมอปุ๊ก-ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ มาไขข้อข้องใจว่า วิธีการรักษาโรคมะเร็งเต้านมนั้นหากไม่ผ่าตัดเต้านมออกทั้งหมด จะมีวิธีการอื่นอีกหรือไม่!?!

เมื่อไรที่ผู้ป่วยมะเร็งควรรับประทาน ‘อาหารทางการแพทย์’

เพราะไม่ใช่ผู้ป่วยทุกคนจะเหมาะกับอาการทางการแพทย์ วันนี้คุณหมอซัง (พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง มาไขข้อข้องใจว่าเมื่อไรที่ผู้ป่วยควรรับประทานอาหารทางแพทย์ดี!?!

ทำไมการให้นมบุตรจึงลดความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านมได้

น่าจะเป็นอีกหนึ่งคำถามคาใจของเหล่ามนุษย์แม่ทั้งหลาย สำหรับการให้นมบุตรที่ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเต้านม วันนี้คุณหมอส้ม-รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล มาช่วยไขข้อข้องใจ…

ดูแลตัวเองอย่างไรดี เมื่อต้องฉายแสง

หากผู้ป่วยมะเร็งท่านไหนกำลังอยู่ระหว่างการฉายแสงแล้วไม่รู้ว่าต้องดูแลตัวเองอย่างไร วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ มีวิธีการดูแลตัวเองง่ายๆ ก่อนการฉายแสงมาฝาก…

ผู้เคยป่วยเป็นมะเร็งเต้านมสามารถดื่มกาแฟได้ไหม

‘กาแฟ’ ถือเป็นอีกหนึ่งเมนูดีต่อใจของใครหลายๆ คน แต่เมื่อมาเป็นอดีตผู้ป่วยมะเร็ง หลังรักษาตัวหายแล้ว ก็อาจจะสงสัยว่าจะกลับดื่มกาแฟต่อไปได้ไหม วันนี้มาไขข้อข้องใจไปกับอาจารย์แบงค์- ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการกันเลยดีกว่า…

ผู้ป่วยมะเร็งที่อยู่ในช่วงให้เคมีบำบัด ใช้เครื่องสำอางได้ไหม

ความสวยนี่ไม่เข้าใครออกใคร ถึงจะอยู่ในช่วงเคมีบำบัดก็เถอะ สาวๆ ทุกคนก็คงอยากดูสดใส ไม่โทรม วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง จึงมาไขข้อข้องใจให้กับสาวๆ ที่อยากรู้ว่าช่วงให้เคมีบำบัดจะสวยสะบัดได้ไหม!?!

ผู้หญิงที่มีประจำเดือนครั้งแรกตั้งแต่อายุยังน้อย มีความเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมมากกว่าคนทั่วไปจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด

มีประจำเดือนเร็วมีความเสี่ยงเป็นมะเร็งได้อย่างไร วันนี้คุณหมอส้ม (รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล) อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีคำตอบมาฝาก

เป็นมะเร็งเต้านม รับประทานอาหารทะเลได้ไหม

กินอาหารทะเลได้ไหม!?! อีกหนึ่งคำถามที่ผู้ป่วยมะเร็งเป็นกังวลอันดับต้นๆ เลยก็ว่าได้ วันนี้คุณหมอซัง (พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ มีคำตอบให้

อยากทราบว่าหลังรักษามะเร็งเต้านมแล้ว จะรับประทานอาหารเสริม เช่น คอลลาเจน วิตามินเสริมต่างๆ ฯลฯ ได้หรือไม่

อีกหนึ่งคำถามฮอตฮิตจากสาวๆ ที่รักสวยรักงามที่มักถามถึงการรับประทานอาหารเสริมหลังจบการรักษามะเร็งนั้น ทำได้หรือไม่ วันนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ มีคำตอบให้

หากเราเป็นมะเร็งเต้านมข้างหนึ่ง แล้วตัดสินใจตัดเต้านมออกทั้งสองข้าง สามารถช่วยลดความเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมในอนาคตได้จริงไหม เพราะอะไร

ถือเป็นคำถามคาใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลายๆ ท่าน สำหรับการตัดเต้านมออกทั้งสองข้างนั้นลดความเสี่ยงการกลับมาเป็นมะเร็งเต้านมในอนาคตได้จริงไหม คำถามนี้ คุณหมอปุ๊ก (ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะมาไขข้อสงสัย

แผลในปาก ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็ง ควรรักษาอย่างไรดี

‘แผลในปาก’ นับเป็นอาการข้างเคียงจากการรักษาที่สร้างความทรมานและรำคาญใจให้ผู้ป่วยมะเร็งอย่างมาก วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์มีทางออกมาให้….คลิกเลย!

อยากทราบว่าสูตรเคมีบำบัดมะเร็งเต้านมที่เรียกว่า ‘สูตรน้ำแดง’ และ ‘น้ำขาว’ คืออะไร

อย่างที่ทราบกันดีว่า สูตรเคมีบำบัดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ฮอตฮิตติดหูอย่างมากก็คือ สูตรน้ำแดง และสูตรน้ำขาว แต่จะมีใครรู้บ้างว่า มันคืออะไร วันนี้คุณหมอส้ม-รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีคำตอบให้

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ต้องผ่าตัดเต้านมออกทั้งหมด สามารถทำการผ่าตัดเสริมเต้านมได้ในคราวเดียวกันไหม

เชื่อว่าเป็นอีกหนึ่งคำถามที่อยู่ในใจของสาวๆ ที่จำเป็นต้องผ่าตัดเต้านมทั้งหมดว่า เสริมสร้างหลังผ่าตัดก้อนมะเร็งไปเลยได้ไหม วันนี้ คุณหมอบัว (อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์) อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช มีคำตอบให้

มีบางงานวิจัยพบว่า มะเร็งบางชนิดอาศัย Methionine ในการเจริญเติบโต และไข่ขาวมีกรดอะมิโน Methionine สูงติด TOP3 การกินไข่ขาวจะเป็นการให้อาหารมะเร็งหรือไม่

มาไขข้อสงสัย กินไข่ขาวทำมะเร็งโตจริงไหม!?! ไปกับอาจารย์แบงค์ (ดร.กมล ไชยสิทธิ์) อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ

ใบย่านาง จิงจูฉ่าย และเจียวกู่หลาน ดีต่อผู้ป่วยมะเร็งจริงไหม

ใบย่านาง จิงจูฉ่าย และเจียวกู่หลาน สามสมุนไพรที่อยู่ในความสนใจของผู้ป่วยมะเร็ง แต่จะมีประโยชน์กับผู้ป่วยมะเร็งจริงไหม วันนี้ คุณหมอซัง (พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และและจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ มีคำตอบ
และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์

เป็นมะเร็งระยะใดจึงควรตัดเต้านมทิ้ง และควรตัดเพียงหนึ่งเต้าหรือตัดสองเต้าไปเลยดี

ถือเป็นอีกหนึ่งคำถามคาใจ สำหรับปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ผู้ป่วยมะเร็งต้องตัดเต้านมทิ้ง วันนี้คุณหมอบัว (อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์) อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช มาไขข้อสงสัย

ช่วยแนะนำการกินอาหารในช่วงให้เคมีบำบัด สำหรับผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร

เพราะเรื่องกินสำคัญมากสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง เมื่อต้องให้เคมีบำบัด ควรรับประทานอาหารอย่างไรดี มาไขปัญหานี้กับดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ

ผู้ชายมี ‘ภาวะเต้านมโต’ มีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมหรือไม่ และควรไปตัดเต้านมเลยไหม

เพราะ ‘ภาวะเต้านมโต’ สามารถเกิดได้กับผู้ชายทั่วไป แต่จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมมากน้อยแค่ไหน เรามาหาคำตอบไปพร้อมๆ กันกับ คุณหมอบัว-อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช

เมื่อรักษามะเร็งจบแล้ว ควรปฏิบัติตัวอย่างไรดี

เพราะการใช้ชีวิตหลังจบการรักษามะเร็งเป็นสิ่งสำคัญ เพราะนั่นหมายถึงโอกาสที่จะทำให้กลับมาเป็นมะเร็งซ้ำอีกหรือไม่ วันนี้คุณหมอซัง พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง ขออาสามาบอกหลักการใช้ชีวิตง่ายๆ 4 ประการ สำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่เพิ่งจบการรักษา…ใครอยากรู้ว่าต้องปฏิบัติตัวอย่างไรดี วันนี้มีคำตอบ!

คุณแม่ระหว่างตั้งครรภ์ควรดูแลเต้านมอย่างไรดี

เพื่อเป็นการเฝ้าระวังมะเร็งเต้านม สาวๆ ทุกคนจึงจำเป็นต้องตรวจเต้านมด้วยตัวเองทุกเดือน แต่สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์ควรดูแลเต้านมอย่างไรดี เรื่องนี้มีคำตอบจาก ‘คุณหมอบัว’ อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช มาฝาก…

หลังการกินยาต้านฮอร์โมนทาม็อกซิเฟน (Tamoxifen) มา 4 ปี ประจำเดือนไม่มา ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมวัย 41 ปี ถือว่าผิดปกติไหมคะ

ประจำเดือนกับยาทาม็อกซิเฟน เชื่อมโยงกันไหม วันนี้คุณหมอส้ม-รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา หน่วยมะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มาไขข้อสงสัย…
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมื่อป่วยเป็นมะเร็งควรกินอย่างไรดี

อีกหนึ่งคำถามที่ถูกถามมากเป็นอันดับต้นๆ จากผู้ป่วยมะเร็ง สำหรับการรับประทานอาหารอย่างไรเมื่อรู้ตัวว่าป่วยเป็นมะเร็ง วันนี้คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง มีคำตอบให้…

เป็นมะเร็งเต้านมแล้ว มีลูกได้ไหม หรือหากเป็นมะเร็งเต้านมระหว่างตั้งครรภ์แล้ว ต้องทำแท้งไหม 

เป็นมะเร็งเต้านมแล้วมีลูกไม่ได้จริงหรือ? คำถามที่เหล่าสาวๆ สงสัย วันนี้คุณหมอบัว (อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์) อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช มีคำตอบมาให้

การเสริมฮอร์โมนเพศหญิงหรือการกินยาคุมต่อเนื่องยาวนานในสาวประเภทสอง จะเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมหรือไม่

อีกหนึ่งคำถามที่สาวประเภทสองห้ามพลาดเด็ดขาด สำหรับการรับประทานยาคุมกำเนิดอย่างต่อเนื่องมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมหรือไม่ มาฟังคำตอบชัดๆ จากคุณหมอส้ม (รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล) พร้อมๆ กันได้เลย

กินน้ำตาลแล้ว ทำให้มะเร็งโตจริงไหม

อีกคำถามฮอตที่ใครหลายคนสงสัยว่า ‘น้ำตาล’ ของโปรดของสาวๆ นี้ เป็นหนึ่งในตัวการสำคัญทำให้มะเร็งโตหรือไม่ วันนี้มาไขข้อข้องใจไปกับอาจารย์แบงค์ (ดร.กมล ไชยสิทธิ์ ) ไปพร้อมๆ กันเลยดีกว่า…

คุณแม่ที่เป็นมะเร็งเต้านมและจำเป็นต้องตัดเต้านม มีผลต่อการตั้งครรภ์และให้นมลูกหรือไม่

น่าจะมีคุณแม่มือใหม่ไม่น้อยที่กังวลว่า ถ้าเป็นมะเร็งขณะตั้งครรภ์นั้นจะมีผลต่อลูกน้อยในครรภ์ไหม หรือถ้าจำเป็นต้องตัดเต้านมทิ้งแล้วจะสามารถให้นมลูกได้ไหม วันนี้มาพบคำตอบจาก อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช ไปพร้อมๆ กันได้เลย

ถ้าเป็นมะเร็งเต้านมชนิดเฮอร์ทูแล้วจะรักษาไม่หายจริงไหม

เพราะเฮอร์ทูเป็นที่เลื่องลือมาว่า เป็นมะเร็งชนิดร้ายแรงที่สุดในบรรดามะเร็งเต้านมชนิดอื่นๆ จึงไม่แปลกที่หลายๆ คนที่พอเป็นมะเร็งชนิดนี้แล้วจะกังวลถึงเรื่องการรักษาไม่หาย หรือหายแล้วกลับมาเป็นซ้ำ มาไขข้อข้องใจไปกับ ‘คุณหมอซัง’ พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ กันได้เลย…

เสริมเต้านมแล้ว ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมอย่างไรดี

สิ่งที่กังวลมากอย่างหนึ่ง คือ หลังเสริมเต้านมแล้วสามารถตรวจเต้านมโดยวิธีแมมโมแกรมได้ไหม คนส่วนใหญ่มักคิดว่าการบีบเต้านมในการตรวจแมมโมแกรมนั้นจะทำให้ถุงซิลิโคนแตกจริงหรือไม่ มาคลายข้อสงสัยไปกับคุณหมอบัว (อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์) อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราชไปด้วยกัน

‘ก้อน’ แบบนี้…มะเร็งเต้านมใช่ไหม

เดือนนี้ ขอรวบรวมคำถามอาการเกี่ยวกับ ‘ก้อน’ ที่หน้าอกมาฝาก ก้อนมะเร็งมีลักษณะแบบใด ก้อนแบบไหนที่ใช่ ก้อนแบบไหนที่ไม่ชัวร์ ไปคลายข้อสงสัยพร้อมๆ กันกับคุณหมอปุ๊ก (ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ) จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กันได้เลย  

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมไม่กิน ‘ยาต้านฮอร์โมน’ ได้ไหม

มาทำความรู้จักกับยาต้านฮอร์โมน และ
ร่วมไขข้อสงสัยเกี่ยวกับประโยชน์ของยาต้านฮอร์โมนไปกับ ‘คุณหมอซัง’ พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง

ทำไมการรับ ‘ฮอร์โมนเพศหญิง’ จึงก่อให้เกิดมะเร็งเต้านมได้

อีกหนึ่งปัจจัยเสี่ยงของการเป็นมะเร็งเต้านมก็คือ การรับฮอร์โมนเพศหญิงเป็นเวลานาน มาร่วมค้นหาว่าฮอร์โมนเพศหญิงใดบ้างที่อันตรายกับสาวๆ อย่างพวกเราไปกับ ‘คุณหมอส้ม’ รศ. พญ.นภา ปริญญานิติกูล

ออกกำลังกายแบบไหนช่วยลดมะเร็งได้

เพราะการออกกำลังกายคือยาที่ดีที่สุด แต่จะออกกำลังกายอย่างไรให้ลดความเสี่ยงเกิดโรคมะเร็ง ออกกำลังแบบไหนไม่ให้มะเร็งกลับมาเป็นซ้ำ วันนี้ คุณหมอซัง-พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ มีคำตอบมาฝาก

‘งาดำ’ ต้านมะเร็งได้จริงหรือ

ว่ากันว่า ‘งาดำ’ มีฤทธิ์ทำให้เซลล์มะเร็งฝ่อและตายได้จริงไหม กินแล้วก้อนมะเร็งจะยุบจริงหรือเปล่า มาหาคำตอบไปพร้อมกันกับ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ

‘ก้อน’ แบบไหนบ้างที่มีโอกาสพัฒนาเป็นมะเร็งเต้านม

เพราะอาการ ‘ก้อน’ เป็นอาการอันดับหนึ่งของมะเร็งเต้านม แต่รู้ไหมว่าก้อนแบบไหนบ้างที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็ง มาไขข้อสงสัยไปกับ ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ

กระบวนการเสริมสร้างเต้านมในผู้ป่วยมะเร็งแตกต่างจากการเสริมเต้านมในคนปกติอย่างไร

‘เสริมสวย’ และ ‘เสริมสร้าง’ เต้านมนั้นแตกต่างกันอย่างไร มาไขข้อข้องใจไปกับ ‘อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์’ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช

ผู้ป่วยมะเร็งที่เข้าสู่การรักษาแล้วมีภาวะซีดหรือเม็ดเลือดแดงต่ำ แก้ได้อย่างไรบ้าง

เพราะ ‘ภาวะซีด’ เป็นอาการข้างเคียงจากการรักษาที่ผู้ป่วยมะเร็ง (เกือบ) ทุกคนต้องเจอ เราจะแก้ไขได้อย่างไร วันนี้มาฟังคำตอบจาก ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ

‘นอนดึก’ ทำให้เป็นมะเร็งจริงหรือ

‘การนอน’ กับ ‘มะเร็ง’ มาเกี่ยวข้องกันได้อย่างไร และจริงไหมที่นอนดึกเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคมะเร็งมาฟังคำตอบจากคุณหมอซัง หรือ พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง โรงพยาบาลมะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ และจิตตะไลฟ์เซ็นเตอร์ ไปพร้อมๆ กันเลย

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกิน ‘ถั่วเหลือง’ ได้หรือไม่

ถือเป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันมานานว่า ถั่วเหลืองเป็นตัวกระตุ้นการเกิดมะเร็งเต้านมจริงหรือไม่ วันนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ มีคำตอบมาฝาก

เคยทราบมาว่า การกินช่วยแก้ไข ‘พันธุกรรมมะเร็ง’ ในตัวเราได้จริงหรือไม่ อย่างไรบ้าง

มาไขข้อข้องใจ การกินช่วยแก้ไขพันธุกรรมมะเร็งได้จริงไหมกับ ‘ดร.กมล ไชยสิทธิ์’ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ

ค่าเลือดมะเร็งคืออะไร สำคัญอย่างไร

อีกหนึ่งคำถามคาใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่หลายคนยังไม่รู้ วันนี้ พญ.รัตน์กวิน จิตตวัฒนรัตน์ หรือคุณหมอซัง แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมมะเร็ง มาไขข้อข้องใจให้ ใครอยากรู้ไปติดตามกันได้เลย

ผู้ชายแบบไหนที่เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมมากที่สุด มีวิธีป้องกันหรือไม่ อย่างไร

รู้ไหมว่า ผู้ชายก็เป็นมะเร็งเต้านมได้ อยากรู้ไหมผู้ชายแบบไหนที่เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมมากที่สุด และมีวิธีป้องกันหรือไม่ อย่างไร วันนี้ อาจารย์แพทย์หญิงนภา ปริญญานิติกูล มีคำตอบมาให้

การตรวจเต้านมใน ‘ผู้ชาย’ และ ‘ผู้หญิง’ แตกต่างกันอย่างไร

เพราะผู้ชายก็เป็นมะเร็งเต้านมได้ แต่จะตรวจเต้านมอย่างไร เหมือนการตรวจเต้านมของผู้หญิงไหม วันนี้ ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ มาไขข้อข้องใจให้ทราบ

ระหว่างการรักษามะเร็ง มีอาหารเสริมหรือวิตามินใดๆ ที่ช่วยต้านมะเร็งได้บ้างไหม?

เป็นปัญหาที่เชื่อว่าผู้ป่วยหลายคนกำลังสงสัย วันนี้ ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการ มาไขข้องใจ

(ในคนปกติ) สาวๆ ที่ศัลยกรรมหน้าอกด้วยวัตถุแปลกปลอม เช่น ซิลิโคน ฯลฯ มีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมสูงกว่าสาวๆ ที่ไม่ทำศัลยกรรมหน้าอกไหม?

คำถามหนักอกของสาวๆ ที่อยากจะอัพไซส์ มาไขข้อข้องใจกับ อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ จากโรงพยาบาลศิริราช กันได้เลย

การทำศัลยกรรมเสริมเต้าหลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม มีความเสี่ยงจะกลับมาเป็นอีกสูงกว่าไม่ทำหรือไม่?

อาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์  โรงพยาบาลศิริราช มาไขข้อสงสัย เสริมสร้างเต้านมใหม่ หลังต้องตัดเต้านมทิ้ง จะเพิ่มความเสี่ยงให้ ‘มะเร็ง’ กลับมาอีกหรือเปล่า

(ในคนปกติ) ซีสต์ที่เต้านม หากปล่อยทิ้งไว้ จะมีโอกาสกลายเป็นมะเร็งเต้านมหรือไม่ อย่างไร?

ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มาตอบคำถามคาใจที่สาวๆ วัย 45 อัพไม่ควรพลาด

การทำศัลยกรรมเสริมเต้าแบบไหนปลอดภัยที่สุด สำหรับคนเคยเป็นมะเร็งเต้านม?

นับเป็นคำถามคาใจของผู่ป่วยมะเร็งเต้านมจำนวนไม่น้อยว่าศัลยกรรมเสริมเต้าแบบไหนปลอดภัยที่สุดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านม วันนี้มาฟังคำตอบจากอาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์  โรงพยาบาลศิริราชกันเลย

รับประทานผักตำลึงช่วยต้านมะเร็งได้จริงไหม?

ตำลึงสรรพคุณน่าตะลึง อีกหนึ่งผักพื้นบ้านที่มีประโยชน์มหาศาล แต่จะต้านมะเร็งได้จริงไหม มาฟังคำตอบจากดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการไปพร้อมๆ กันเลย

ทำไมผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต้องกินยาต้านฮอร์โมน และต้องกินไปนานเท่าไร?

อีกหนึ่งคำถามคาใจของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่หลายคนยังไม่รู้คำตอบ วันนี้แพทย์หญิงพจนา จิตตวัฒนรัตน์มาไขข้อข้องใจให้ ใครอยากรู้ไปติดตามกันได้เลย

เต้านมส่วนเกินที่รักแร้หลังการตั้งครรภ์และให้นมบุตร เพิ่มโอกาสเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านมให้กับผู้หญิงหรือไม่ อย่างไร และควรผ่าตัดออกหรือไม่?

เรื่องน่ารู้ของเต้านมส่วนเกินบริเวณรักแร้ที่สาวๆ ไม่ควรพลาด ใครที่กำลังกังวลปนสงสัยว่าส่วนเกินนี้จะทำให้เราเสี่ยงเป็นมะเร็งหรือเปล่า วันนี้ไปฟังคำตอบจากอาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์พร้อมๆ กันได้เลย

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมควรออกกำลังกายอย่างไรดี?

ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมควรออกกำลังกายหรือไม่ และควรออกกำลังอย่างไรดี คำถามยอดฮิตที่ทุกคนอยากรู้ วันนี้แพทย์หญิงพจนา จิตตวัฒนรัตน์มีคำตอบมาฝาก

(ในคนปกติ) ชุดชั้นในมีผลต่อการเกิดมะเร็งเต้านมหรือไม่ เช่น ใส่ชุดชั้นในมีโครงรัดเกินไป หรือใส่ชุดชั้นในนอนทุกคืน เหล่านี้มีโอกาสทำให้เป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้นหรือไม่?

เคยสงสัยไหม ‘ชุดชั้นในมีโครง’ จะเป็นตัวการทำให้สาวๆ อย่างเราเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านมไหม มาฟังคำตอบจากผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการกันเลย

ในคนปกติขนาดหน้าอกมีผลต่อโอกาสการเกิดมะเร็งหรือไม่ เช่น ยิ่งหน้าอกใหญ่ ยิ่งเสี่ยงภัยมะเร็งเต้านม?

จริงไหมที่ขนาดหน้าอกมีผลต่อโอกาสการเกิดมะเร็งเต้านม มาฟังคำตอบจากอาจารย์ นายแพทย์วิษณุ โล่ห์สิริวัฒน์ ไปพร้อมๆ กันเลย

อัพอึ๋มมาแล้วจะตรวจมะเร็งได้ไหม ตรวจอย่างไรปลอดภัยที่สุด?

ไขข้อสงสัย! ซิลิโคนเสริมอึ๋มกับการตรวจเต้านมอันตรายจริงหรือ มาฟังคำตอบพร้อมกันจากคุณหมอซัง-แพทย์หญิงพจนา จิตตวัฒนรัตน์

เคยได้ยินว่าเนื้อแดงและไขมันสัตว์เร่งมะเร็งจริงหรือไม่ และการงดกินเนื้อสัตว์หันมากิน Plant-based Food หรือมังสวิรัติ จะช่วยต้านมะเร็งเต้านมได้หรือไม่?

คำถามที่หลายคนสงสัย วันนี้ดร.กมล ไชยสิทธิ์ อุปนายกสมาคมโภชนาการและสมุนไพรเชิงบูรณาการมีคำตอบมาฝาก

ในคนปกติ ความอ้วนมีผลโดยตรงกับการเกิดมะเร็งเต้านมหรือไม่ เช่น ผู้หญิงอ้วนมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้มากกว่าผู้หญิงผอมจริงหรือไม่?

วันนี้อาจารย์แพทย์หญิงนภา ปริญญานิติกุลมีคำตอบให้ ไปอ่านพร้อมๆ กันเลย

การตัดเต้านมทิ้งเมื่อเป็นมะเร็งคือการถอนรากถอนโคน จะไม่กลับมาเป็นมะเร็งเต้านมอีกจริงไหม?

ตัดทิ้งทั้งทีจะมีสิทธิ์กลับมาเป็นอีกไหม วันนี้ ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ มาไขข้อข้องใจให้

หลังจากให้คีโมแล้วรู้สึกคลื่นไส้ อาเจียน พะอืดพะอม เกิดจากสาเหตุอะไร และควรรับประทานอะไรแก้ดี?

เคยสงสัยไหม ทำไมคีโมแล้วต้องคลื่นไส้ อาเจียน วันนี้ ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ มีคำตอบให้

รักษามะเร็งด้วยการผ่าตัดเต้านมจนหายเป็นปกติแล้ว สามารถเสริมหน้าอกได้ไหมคะ?

เมื่อเต้านมหายไป จะสร้างขึ้นใหม่ได้ไหม มาฟังคำตอบจาก ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ ที่จะเรียกความมั่นใจสาวๆ กลับคืนมาอีกครั้ง

อยากกินขนมพวกเบเกอรี่ กินได้ไหมนะ?

เพราะชีวิตขาดหวานไม่ได้ ปัญหานี้จึงเป็นเรื่องใหญ่ของสาวๆ อย่างเรา มาฟังคำตอบไปพร้อมกันกับ ผศ. พญ.ศศิธร สุจริตธนะการ กินได้ไหม หรือต้องพักก่อนนนน…

Scroll to Top